4.โปรแกรมเมอร์
นิยามของอาชีพโปรแกรมเมอร์
ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำข้อมูลการออกแบบรายละเอียดของระบบงานจาก การวิเคราะห์ระบบโดยผู้วิเคราะห์ระบบงานมาวางแผน และจัดทำแผนภูมิ เขียนเป็นโปรแกรมสำหรับระบบต่างๆ เพื่อประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยภาษาที่ใช้ในการเขียนจะแตกต่างกันไปตามลักษณะเครื่องระบบฐานข้อมูล ลักษณะอาชีพโปรแกรมเมอร์ จะทำหน้าที่ นำข้อมูลการออกแบบรายละเอียดการวางโครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ จากนักวิเคราะห์ระบบงาน มาเขียนเป็นโปรแกรมต่าง ๆ ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจะแตกต่างกันไปตามลักษณะเครื่องของระบบฐานข้อมูล ทดสอบระบบและส่งให้นักวิเคราะห์ระบบทำการตรวจสอบอีกครั้งเพื่อหากจุดบกพร่องและแก้ไขก่อนนำไปใช้จริง อยากเป็นโปรแกรมเมอร์ ควรจะเรียนคณะอะไรดี ?-วิศวคอม -วิศวซอฟแวร์ -วิทยาการคอม -IT โปรแกรมเมอร์ มีแบบไหนกันบ้าง? 1. System Programmer ถึงแม้ว่าภาพรวมของโปรแกรมเมอร์จะเป็นคนเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ก็ตามแต่เมื่อมีการแบ่งออกก็จะมีการแข่งตามลักษณะงานเช่น System Programmerซึ่งจะเชี่ยวชาญในเรื่องของระบบปฏิบัติการต่าง ๆ (OS: Operatino System) ที่จะช่วยแก้ปัญหาและจัดการกับโปรแกรมในระบบคอมพิวเตอร์รวมถึงเรื่องของฮาร์แวร์ด้วย 2. Application Programmer ซึ่งเป็นผู้พัฒนา เขียนโปรแกรมประยุกต์เฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมที่ใช้วัดผลในองค์กร โปรแกรมด้านบัญชีที่ทำขึ้นเพื่อจัดระเบียบและพัฒนาของแต่ละบริษัท
3. Web Programmer คือ นักเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา VB,PHP,Java เป็นต้น ที่ทำงานร่วมกับ Web Developer และ Web Disigner ซึ่งจะทำให้การออกแบบเว็บไซต์ได้ตรงความต้องการ รู้ก่อนเรียน ! ข้อดี-ข้อเสียของการเรียนนักการตลาด ข้อดี ข้อเสีย -เป็นอาชีพที่ต่อยอดได้ -ต้องทำงานหนัก |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น